วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน


กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน


กฎข้อแรกและข้อที่สองของนิวตัน เขียนเป็นภาษาละติน จาก Philosophiae Naturalis Principia Mathematica ฉบับดังเดิม ค.ศ. 1687
ไอแซก นิวตัน (Isaac Newton) นักฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ ชาวอังกฤษเป็นผู้มีชื่อเสียงที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ นิวตันเกิดที่วูลส์ธอร์พแมน เนอร์ลิงคอนเชียร์ อังกฤษ[1] ในปี ค.ศ. 2019 หนังสือชื่อ PhilosophiæNaturalis Principia Mathematica (เรียกกันโดยทั่วไปว่า Principiareble) [2] เป็นรากฐานกฎกติกาพื้นฐานเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุภายใต้แรงที่กระทำ (กฎว่าด้วยการเคลื่อนที่3 ข้อของนิวตัน) และทฤษฎีความโน้มถ่วงที่อธิบายว่าแรงซึ่งดึงดูดให้ผลแอปเปิลจากต้นตกสู่พื้น เป็นแรงชนิดเดียวกับที่ควบคุมการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์[3] นิวตันได้ศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุและได้เสนอกฎการเคลื่อนที่สามข้อ กฎการเคลื่อนที่ทั้งสามข้อได้อ่านเพิ่มเติม

ความเร็วและอัตราเร็ว


                                                                  ความเร็วและอัตราเร็ว 
อัตราเร็ว 
 ..................อัตราเร็ว คือระยะทางในหนึ่งหน่วยเวลาเป็นปริมาณสเกลาร์
 
 
 
 
 
แต่ถ้าเป็นระยะทางทั้งหมดใน 1 หน่วยเวลา เรียกว่าอัตราเร็วเฉลี่ย
 
 อัตราเร็วขณะหนึ่ง คือ อัตราเร็วในช่วยเวลาสั้น ๆ หรือ อัตราเร็วที่ปรากฏขณะนั้น
ี่
 
 อัตราเร็วคงที่ หมายถึง วัตถุที่เคลื่อนที่มีอัตราเร็วสม่ำเสมอตลอดการเคลื่อนที่ไม่ว่าจะวัดอัตราเร็ว
.................. ณ ตำแหน่งใดจะมีค่าเท่ากันตลอดการเคลื่อนที่ หรือบอกได้ว่า
.................. อัตราเร็ว ขณะใด ๆ มีค่าเท่ากับ อัตราเร็วเฉลี่ย
 
 
การคำนวณหาปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับอัตราเร็ว 
1. การหาอัตราเร็ว 
..................1.1. เมื่อกำหนดระยะทางและเวลาในการเคลื่อนที่
.................................คำนวณหาอัตราเร็วโดยการใช้สูตร อ่านเพิ่มเติม

การบวกเวกเตอร์โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์

 การบวกเวกเตอร์โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์
ให้ เวกเตอร์ ทำมุมกับ เป็นมุม q คำนวณหาเวกเตอร์ลัพธ์ได้ ดังนี้
ขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์คำนวณได้จากกฎของโคไซน์

ทิศทางของเวกเตอร์ลัพธ์หาได้จาก
= ...........................................................(2)
หรือหาได้จากกฎของไซน์ ดังนี้
= =  .......................................................(3)
อ่านเพิ่มเติม 

ปริมาณทางฟิสิกส์


ปริมาณทางฟิสิกส์
ปริมาณ (Quantity)
วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความจริงที่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นำความรู้ที่ได้จากการศึกษาทดลอง จดบัทึกมารวบรวมเป็นกฎ ทฤษฎี เพื่อเป็นความรู้ในการอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งการศึกษาวิทยาศาสร์เป็นการศึกษา2 ส่วนคือ เชิงคุณภาพ เป็นการศึกษาบรรยายเชิงข้อมูลพรรณนา ตามสภาพการรับรู้ของมนุษย์ เช่น การบรรยายรูปลักษณะ สี กลิ่น รส และเชิงปริมาณ เป็นการศึกษาข้อมูลเชิงตัวเลข ซึ่งได้จากการสังเกต และเครื่องมือวัด เช่น ความยาว มวล เวลา ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาฟิสิกส์แบ่งออกได้เป็น
ปริมาณในทางฟิสิกส์ มี 2 ปริมาณ คือ
1. ปริมาณสเกลาร์ (Scalar) เป็นปริมาณที่บอกขนาดเพียงอย่างเดียว เช่น มวล , อัตราเร็ว , พลังงาน ฯลฯ
2. ปริมาณเวกเตอร์ (Vector) เป็นปริมาณที่บอกทั้งขนาดและทิศทาง เช่น ความเร็ว , ความเร่ง , การกระจัด , แร อ่านเพิ่มเติม  
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ปริมาณทางฟิสิกส์

การคูณและการหารเลขนัยสำคัญ

การคูณและการหารเลขนัยสำคัญ

              การคูณและการหารเลขนัยสำคัญ ให้ใช้วิธีการคูณและหารเหมือนทางคณิตศาสตร์ก่อน  แล้วพิจารณาผลลัพธ์ที่ได้   โดยผลลัพธ์จะต้องมีจำนวนเลขนัยสำคัญเท่ากับจำนวนเลขนัยสำคัญของตัวคูณหรือตัวหารที่น้อยที่สุด  เช่น
             (1)   432.10   x    5.5     =    2376.55
                     ปริมาณ      432.10           มีจำนวนเลขนัยสำคัญ       5    ตัว
                                       5.5                 มีจำนวนเลขนัยสำคัญ       2    ตัว
                      ผลลัพธ์      2376.55        มีจำนวนเลขนัยสำคัญ       6    ตัว        แต่ผลลัพธ์ที่ได้ จะมีจำนวนเลขนัยสำคัญได้เพียง 2 ตัว
                                       เท่านั้น  ก็คือ  2  และ  3  แต่ตัวที่สามถัดจาก 3 เ  ป็นเลข  7 ให้เพิ่มค่าตัวหน้าคือ 3  อีก  1  เป็น   4   ดังนั้นคำ
                                       ตอบควรได้   2400  แต่ต้องจัดให้มีเลขนัยสำคัญเพียง   2  ตัว   จึงจัดได้เป็น     
             (2)    0.6214   4.52   =   0.1374778
                       จากตัวอย่าง  2   ผลลัพธ์  คือ   0.137

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ คำนวณ เลขนัยสำคัญ คือ

การบวกและลบเลขนัยสำคัญ

การบวกและลบเลขนัยสำคัญ
การบวก ลบ เลขนัยสำคัญ   ผลลัพธ์ที่ได้จะมีจำนวนตัวเลขหลังจุดทศนิยม เท่ากับจำนวนตัวเลขหลังจุด ทศนิยมที่น้อยที่สุดของ ตัวเลขชุดนั้น  เช่น 3.21 +  4.156  =  7.366    ควรบันทึกเป็น  7.37   (ตำแหน่งที่ 3 ตัวเลขถึง 5 จึงปัดขึ้น ถ้าไม่ถึง 5 ปัดทิ้ง)  5354 - 21.6  =  5332.4     ควรบันทึกเป็น  5332

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ คำนวณ เลขนัยสำคัญ คือ

เลขนัยสำคัญ

เลขนัยสำคัญ
     
      เลขนัยสำคัญคือ ตัวเลขที่ได้จากการวัดโดยใช้เครื่องมือที่เป็นสเกล โดยเลขทุกตัวที่บันทึกจะมีความหมายส่วนความสำคัญของตัวเลขจะไม่เท่ากัน ดังนั้นเลขทุกตัวจึงมีนัยสำคัญ ตามความเหมาะสม เช่น วัดความยาวของไม้ท่อนหนึ่งได้ยาว 121.54 เซนติเมตร เลข 121.5 เป็นตัวเลขที่วัดได้จริง ส่วน 0.04 เป็นตัวเลขที่ประมาณขึ้นมา เราเรียกตัวเลข121.54 นี้ว่า เลขนัยสำคัญ และมีจำนวนเลขนัยสำคัญ 5 ตัว

หลักการพิจารณาจำนวนเลขนัยสำคัญ
เลขทุกตัว ถือเป็นเลขที่มีนัยสำคัญ ยกเว้น 
1. เลข 0 ( ศูนย์ ) ที่อยู่ซ้ายมือสุดหน้าตัวเลข เช่น 
0.1 มีเลขนัยสำคัญ 1 ตัว
0.01 มีเลขนัยสำคัญ 1 ตัว
0.0152 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
2. เลข 0 ( ศูนย์ ) ที่อยู่ระหว่างตัวเลขถือเป็นเลขนัยสำคัญ เช่น
101 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
1.002 มีเลขนัยสำคัญ 4 ตัว

3. เลข 0 ( ศูนย์ ) ที่อยู่ท้ายแ อ่านเพิ่มเติม


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เลขนัยสําคัญ คือ

คำอุปสรรค์

คำอุปสรรค์ ( Prefixes )

     เมื่อค่าในหน่วยมูลฐานหรือหน่วยอนุพันธ์น้อยหรือมากเกินไปเราอาจจะเขียน
ค่านั้นอยู่ในรูปตัวเลขคูณด้วยเลขสิบยกกำลังบวกหรือลบ ได้  เช่น


ตัว     แทนด้วยคำอุปสรรคมิลิ (m) ดังนั้น อาจเขียนใหม่ได้ว่า 0.002 
เมตร เท่ากับ 2 มิลลิเมตร (mm)
ดังนั้น คำอุปสรรค์ คือ คำที่ใช้นำหน้าหน่วยมูลฐานตัวสิบยำกำลัง( ตัวพหุคูณ )
 นั้นเอง 




ประโยชน์ของคำอุปสรรค คือ ช่วยเปลีย่นหน่วยให้เหมาะสม อ่านเพิ่มเติม